Monday, December 7, 2009

วิธีการสวดมนต์



คุณเริ่มสวดตั้งแต่บทนี้ตามลำดับ สวดจนถึงคาถาชินบัญชร


บูชาพระรัตนตรัย
อิมินาสักกาเรนะ พุทธัง อภิปูชะยามิ
อิมินาสักกาเรนะ ธัมมัง อภิปูชะยามิ
อิมินาสักกาเรนะ สังฆัง อภิปูชะยามิ


บทกราบพระ
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พุทธังภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ)
สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธัมมังนะมัสสามิ (กราบ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิ(กราบ)


นมัสการพระรัตนตรัย
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ


ขอขมาพระรัตนตรัย
วันทามิ พุทธัง,สัพพะ เมโทสัง, ขะมะถะเม ภันเต, วันทามิ ธัมมัง, สัพพะเมโทสัง,
ขะมะถะเม ภันเต,วันทามิ สังฆัง, สัพพะ เมโทสัง,ขะมะถะเม ภันเต



ไตรสรณคมน์
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ


ถวายพรพระ(อิติปิ โสฯ)
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ (พุทธคุณ)
สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูฮีติ (ธรรมคุณ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ (สังฆคุณ)


พาหุงมหากา
พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุเม ชะยะมังคะลานิ
มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันตีสุทันตะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุเม ชะยะมังคะลานิ
นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุเม ชะยะมังคะลานิ
อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะ สุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถัง คุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุเม ชะยะมังคะลานิ
กัตตวานะ กัฎฐะมุทะรัง อิวะ ศัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุเม ชะยะมังคะลานิ
สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนังอะติอันทะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุเม ชะยะมังคะลานิ
นันโทปะนันทะ ภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต อิทธูปะเทสะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุเม ชะยะมังคะลานิ
ทุคคาหะทิฏฐิ ภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัมมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญานาคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุเม ชะยะมังคะลานิ
เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฎฐะคาถา โยวาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตะวานะ เนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ โมกขัง สุขัง อะธิเมยยะ นะโร สะปัญโญ
มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะโหตุเม ชะยะมังคะลังฯ
ชะยันโตโพธิยา มูเลสักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปาราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัมมะ จาริสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณิธีเต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณฯ
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพเทวะตา สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุเมฯ
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพเทวะตา สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุเมฯ
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพเทวะตา สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุเมฯ


อิติปิโส (เท่าอายุบวกหนึ่ง เช่นอายุ 25 ก็สวด 26 จบ)
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุตะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ


บทแผ่เมตตาให้ตนเอง
อะระหัง สุขิโต โหมิ ขอให้ข้าพเจ้ามีความสุข
นิททุกโข โหมิ ปราศจากความทุกข์
อะเวโร โหมิ ปราศจากเวร
อัพยาปัชโฌ โหมิ ปราศจากอุปสรรคอันตรายทั้งปวง
อะนีโฆ โหมิ ปราศจากความทุกข์กายทุกข์ใจ
สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ มีความสุขกายสุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเถิด

บทแผ่เมตตา
สัพเพ สัตตา สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันทั้งหมด ทั้งสิ้น
อะเวรา โหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย
อัพยาปัชฌา โหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้เบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย
อะนีคา โหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีความทุกข์กาย ทุกข์ใจเลย
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ จงมีความสุขกายสุขใจ รักษาตน ให้พ้นจากทุกข์ภัยด้วยกันทั้งหมด ทั้งสิ้นเถิด


บทแผ่ส่วนกุศล
อิทัง เม มาตาปิตุนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ มาตาปิตะโร ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่มารดาบิดาของข้าพเจ้า ขอให้มารดาบิดาของข้าพเจ้าจงมีความสุข
อิทัง เม ญาตีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า ขอให้ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า จงมีความสุข
อิทัง เม คุรูอุปัชฌายาจริยานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ คุรูปัชฌายาจริยา ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ของข้าพเจ้า ขอให้ครูอุปัชฌาอาจารย์ของข้าพเจ้าจง มีความสุข
อิทัง สัพพะ เทวะตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพเทวา ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่เทวดาทั้งหลายทั้งปวง ขอให้เทวดาทั้งหลาย ทั้งปวงจงมีความสุข
อิทัง สัพพะ เปตานังิโหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพเปตา ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่เปรตทั้งทั้งปวง ขอให้เปรตทั้งหลายทั้งปวงจงมีความสุข
อิทัง สัพพะ เวรีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพเวรี ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่เจ้ากรรม นายเวรทั้งหลายทั้งปวง ขอให้เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวงจงมีความสุข
อิทัง สัพพะ สัตตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ สัตตาขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ขอให้สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง จงมีความสุข



พระคาถา ชินบัญชร
ก่อนที่เจริญภาวนาให้ตั้งนะโม 3 จบ แล้วระลึกถึงและบูชาเจ้าประคุณสมเด็จด้วยคำว่า
ปุตตะกาโมละเภปุตตัง ธะนากาโมละ เภธะนัง
อัตถิกาเยกายะญายะ เทวานังปิยะตัง สุตตะวา
อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
มรนังสุขัง อะระหัง สุคะโต นะโมพุทธายะ



ชะยาสะนากะตา พุทธา เชตะวา มารัง สะวา หะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา
ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเก เต มุนิสสะรา
สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโล จะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะ คุณากะโร
หะทะเย เม อะนรุทโธ สารีปุตโต จะ ทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะวามะเก
ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะราหุลา กัสสะโป จะ มหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก
เกสันโต ปิกิฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว
กุมาระกัสสะโป เถโร มะเหสี จิตตะวาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิ คุณากะโร
ปุณโณ อังคุลิมาโล จะ อุปาลี นันทะสีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ตีละกา มะมะ
เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอตาสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา
ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะสุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง
ขันธะโมระปะริตัญจะ อาฏานาฏิยะสุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฑิตา
ชินาณาวะระสังยุตตา สัตตะปาการะลังกะตา วาตะปิตตาทิสัญชาตา พ่หิรัชฌัตตุปัททะวา
อะเสสา วินะยัง ยันตุ อานันตะชินะเตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะ ปัญชะเร
ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮีตะเล สะทาปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา
อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโยสัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะปัญชะเรติฯ
(ชินะปัญชะระคาถา นิฎฐิตา)


ทำวัตรเย็น



ทำวัตรเย็น

โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ,
สวากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม,
สุปะฏิปันโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆังอิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปิเตหิ อะภิปูชะยามะ,
สาธุ โน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตปิ,
ปัจฉิมาชะนะตานุกัมปะมานะสา,
อิเม สักกาเร ทุคคะตะปัณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ.
อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ ฯ
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา,
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ. ( กราบ )
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโธ,
ธัมมัง นะมัสสามิ. ( กราบ )
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สังฆัง นะมามิ. ( กราบ )
(นำ) หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัญเจวะ
พุทธานุสสะตินะยัญจะ กะโรมะ เส ฯ
(รับ) นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมามัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมามัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมามัมพุทธัสสะ
ตัง โข ปะนะ ภะคะวันตัง เอวัง กัลยาโณ กิตติสัทโท อัพภุค-คะโต อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัม-ปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา -เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ ฯ
(นำ) หันทะ มะยัง พุทธาภิคีติ กะโรมะ เส ฯ
(รับ) พุทธะวาระหันตะวะระตาทิคุณาภิยุตโต
สุทธาภิญาณะกะรุณาหิ สะมาคะตัตโต
โพเธสิ โย สุชะนะตังกะมะลังวะ สูโร
วันทามะหัง ตะมะระณัง สิระสา ชิเนนทัง

พุทโธ โย สัพพะปาณีนัง ปะฐะมานุสสติฏฐานัง พุทธัสสาหัสมิ ทาโส (ทาสี) วะ.... พุทโธ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ พุทธัสสาหัง นิยยาเทมิ วันทันโตหัง จะริสสามิ นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ พุทธัง เม วันทะมาเนนะ สัพเพปิ อันตะระยา เม
สะระณัง เขมะมุตตะมัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง พุทโธ เม สามิกิสสะโร วิธาตา จะ หิตัสสะ เม สะรีรัญชีวิตัญจิทัง พุทธัสเสวะ สุโพธิตัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง วัฑเฒยยัง สัตถุสาสะเน ยังปุญญัง ปะสุตัง อิธะ มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา
(กราบหมอบลงว่า)

กาเยนะ วาจายะ วะเจตะสา วา
พุทเธ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยายัง
พุทโธ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะ ยันตัง
กาลันตะเร สังวะริตุง วะพุทเธ
(นั่งคุกเข่าว่า)
(นำ) หันทะ มะยัง ธัมมานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส)
(รับ) สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิ-
ปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูฮีติ ฯ
(นำ) หันทะ มะยัง ธัมมาภิคีติง กะโรมะ เส ฯ
(รับ) สวากขาตะตาทิคุณะโยคะวะเสนะ เสยโย
โย มัคคะปากะปะริยัตติวิโมกขะเภโท .
ธัมโม กุโลกะปะตะนา ตะทะธาริธารี
วันทามะหัง ตะมะหะรัง วะระธัมมะเมตัง
ธัมโม โย สัพพะปาณีนัง ทุติยานุสสะติฏฐานัง ธัมมัสสาหัสมิ ทาโส วะ ธัมโม ทุกขัสสะ ฆาตา จะ ธัมมัสสาหัง นิยยาเทมิ
วันทันโตหัง จะริสสามิ นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ ธัมมัง เมวันทะมาเนนะ สัพเพปิ อันตะรายา เม
สะระณัง เขมะมุตตะมัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง ธัมโม เม สามิกิสสะโร วิธาตา จะ หิตัสสะ เม สะรีรัญชีวิตัญจิทัง ธัมมัสเสวะ สุธัมมะตัง ธัมโม เม สะระณัง วะรัง วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา
(หมอบกราบพูด)
กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา
ธัมเม กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง
ธัมโม ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง
กาลันตะเร สังวะริตุง วะ ธัมเม ฯ
(นั่งคุกเข่าว่า)
(นำ) หันทะ มะยัง สังฆานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส)
(รับ) สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะ-วะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อายุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสา ติ ฯ
(นำ) หันทะ มะยัง สังฆาภิคีติง กะโรมะ เส)
(รับ) สัทธัมมะโช สุปะฏิปัตติคุณาทิยุตโต
โยฏฐัพพิโธ อะริยะปุคคะละสังฆะเสฏโฐ
สีลาทิธัมมะปะวะราสะยะกายะจิตโต
วันทามะหัง ตะมะริยานะคะณัง สุสุทธัง
สังโฆ โย สัพพะปาณีนัง ตะติยานุสสะติฏฐานัง สังฆัสสาหัสมิ ทาโส วะ สังโฆ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ สังฆัสสาหัง นิยยาเทมิ วันทันโตหัง จะริสสามิ นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ สังฆัง เม วันทะมาเนนะ สัพเพปิ อันตะรายา เม ..........
สะระณัง เขมะมุตตะมัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง สังโฆ เม สามิกิสสะโร วิธาตา จะ หิตัสสะ เม สะรีรัญชีวิตัญจิทัง สังฆัสโสปะฏิปันนะตัง สังโฆ เม สะระณัง วะรัง วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา ฯ(กราบหมอบลงว่า)
กาเยนะ วาจายะ เจตะสา วา สังเฆ กุกัมมัง ปะกะตัง มายา ยัง สังโฆ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง กาลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ ฯ(นั่งพับเพียบ)
...........(สตรีเล่าบ่นและสวดแปลกอย่างนี้ พุทธัสสาหัส์มิ ทาสีวะ ฯธัมมัสสาหัส์มิ ทาสีวะ ฯ สังฆัสสาหัส์มิ ทาสีวะ ฯ วันทันตีหัง ฯ พุทธังเม วันทะมานายะ ฯ ธัมมัง เม วันทะมานายะ ฯ สังฆัง เม วันทะมานายะ ถ้าคฤหัสถ์ทั้งบุรุษสตรีสวดมีความรังเกียจด้วยอสภาวะนิรุตินิ่งอยู่ บุรุษจะสวดว่า วันทะมาโน จะริสสามิ สตรีจะสวดว่า วันทะมานาจะริสสามิ ดังนี้พร้อมกันไป ดัง คะโต คะตา ฉะนั้นก็ควร ก็แปลว่าไหว้อยู่เหมือนกัน)

บทสวดมนต์ ทำวัตรเช้าแปล




บทสวดมนต์ ทำวัตรเช้าแปล

คำบูชาพระรัตนตรัย
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา,
พระผู้มีพระภาคเจ้า, เป็นพระอรหันต์ ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกข์สิ้นเชิง ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง ;


พุทธัง ภควันตัง อะภิวาเทมิ.
ข้าพเจ้าอภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้า, ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน
(กราบ)


สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,
พระธรรม เป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้า, ตรัสไว้ดีแล้ว ;


ธัมมัง นะนัสสามิ.
ข้าพเจ้านมัสการพระธรรม.
(กราบ)


สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า, ปฏิบัติดีแล้ว ;


สังฆัง นะมามิ.
ข้าพเจ้านอบน้อมพระสงฆ์.
(กราบ)


คำทำวัตรเช้า (ปุพพภาคนมการ)

(หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส. )
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต
ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์นั้น ;
อะระหะโต
ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส ;
สัมมาสัมพุทธัสสะ.
ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง
( ๓ ครั้ง )


(๑. พุทธาภิถุติ)(หันทะ มะยัง พุทธาภิถุติง กะโรมะ เส.)
โย โส ตะถาคะโต,
พระตถาคตเจ้านั้น พระองค์ใด ;
อะระหัง
เป็นผู้ไกลจากกิเลส ;
สัมมาสัมพุทโธ ,
เป็นผู้ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง ;
วิชชาจะระณะสัมปันโน,
เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ ;
สุคะโต,
เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี ;
โลกะวิทู,
เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง ;
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ,
เป็นผู้สามารถฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้ อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า ;
สัตถา เทวะมะนุสสานัง,
เป็นครูผู้สอน ของเทวคาและมนุษย์ทั้งหลาย ;
พุทโธ,
เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานด้วยธรรม ;
ภะคะวา,
เป็นผู้มีความจำเริญ จำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์ ;
โย อิมัง โลกัง สะเทวะกัง สะมาระกัง สะพรหมะกัง,

สัสสะมะณะพราหมะณิง ปะชัง สะเทวะมะนุสสัง สะยัง อะภิญญา สัจฉิกัตวา ปะเวเทสิ,
พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด, ได้ทรงทำความดับทุกข์ให้แจ้งด้วยพระปัญญาอันยิ่งเองแล้ว,

ทรงสอนโลกนี้ พร้อมทั้งเทวดา, มาร พรหม, และหมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณพราหมณ์, พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์ให้รู้ตาม ;
โย ธัมมัง เทเสสิ,
พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด, ทรงแสดงธรรมแล้ว ;
อาทิกัลยาณัง,
ไพเราะในเบื้องต้น,
มัชเฌกัลยาณัง,
ไพเราะในท่ามกลาง,
ปะริโยสานะกัลยาณัง,
ไพเราะในที่สุด,
สาตถัง สะพยัญชะนัง เกวะละปริปุณณัง ปะริสุทธัง พรหมะจะริยัง ปะกาเสสิ,
ทรงประกาศพรหมจรรย์ คือแบบแห่งการปฏิบัติอันประเสริฐ บริสุทธิ์ บริบูรณ์ สิ้นเชิง,

พร้อมทั้งอรรถะ (คำอธิบาย) พร้อมทั้งพยัญชนะ (หัวข้อ) ;
ตะมะหัง ภะคะวันตัง อะภิปูชะยามิ
ข้าพเจ้าบูชาอย่างยิ่ง เฉพาะพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ;
มะหัง ภะคะวันตัง สิระสา นะมามิ.
ข้าพเจ้านอบน้อมพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ด้วยเศียรเกล้า
(กราบรำลึกพระพุทธคุณ)


(๒. ธัมมาภิถุติ)(หันทะ มะยัง ธัมมาภิถุติง กะโรมะ เส.)
โย โส สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,
พระธรรมนั้นใด, เป็นสิ่งที่พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรัสไว้ดีแล้ว ;
สันทิฏฐิโก,
เป็นสิ่งที่ผู้ศึกษาและปฏิบัติ พึงเห็นได้ด้วยตนเอง ;
อะกาลิโก,
เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้ และให้ผลได้ ไม่จำกัดกาล ;
เอหิปัสสิโก,
เป็นสิ่งที่ควรกล่าวกะผู้อื่นว่า ท่านจงมาดูเถิด ;
โอปะนะยิโก,
เป็นสิ่งที่ควรน้อมเข้ามาใส่ตัว ;
ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิ,
เป็นสิ่งที่ผู้รู้ก็รู้ได้เฉพาะตน ;
ตะมะหัง ธัมมัง อะภิปูชะยามิ,
ข้าพเจ้าบูชาอย่างยิ่ง เฉพาะพระธรรมนั้น ;
ตะมะหัง ธัมมัง สิระสา นะมามิ,
ข้าพเจ้านอบน้อมพระธรรมนั้น ด้วยเศียรเกล้า ;
(กราบรำลึกพระธรรมคุณ)


(๓. สังฆาภิถุติ)(หันทะ มะยัง สังฆาภิถุติง กะโรมะ เส.)
โย โส สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น หมู่ใด, ปฏิบัติดีแล้ว ;
อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด, ปฏิบัติตรงแล้ว ;
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด, ปฏิบัติเพื่อรู้ธรรมเป็นเครื่องออกจากทุกข์แล้ว ;
สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด, ปฏิบัติสมควรแล้ว ;
ยะทิทัง,
ได้แก่บุคคลเหล่านี้คือ :
จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา,
คู่แห่งบุรุษ ๔ คู่, นับเรียงตัวบุรุษ ได้ ๘ บุรุษ ;
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
นั่นแหละ สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า ;
อาหุเนยโย,
เป็นสงฆ์ควรแก่สักการะที่เขานำมาบูชา ;
ปาหุเนยโย,
เป็นสงฆ์ควรแก่สักการะที่เขาจัดไว้ต้อนรับ ;
ทักขิเณยโย,
เป็นผู้ควรรับทักษิณาทาน ;
อัญชะลิกะระณีโย,
เป็นผู้ที่บุคคลทั่วไปควรทำอัญชลี ;
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสะ,
เป็นเนื้อนาบุญของโลก, ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า ;
ตะมะหัง สังฆัง อะภิปูชะยามิ,
ข้าพเจ้าบูชาอย่างยิ่ง เฉพาะพระสงฆ์หมู่นั้น ;
ตะมะหัง สังฆัง สิระสา นะมามิ,
ข้าพเจ้านอบน้อมพระสงฆ์หมู่นั้น ด้วยเศียรเกล้า ;
(กราบรำลึกพระสังฆคุณ)


(๔. รตนัตตยัปปณามคาถา)

(หันทะ มะยัง ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถาโย เจวะสังเวคะปะริกิตตะนะปาฐัญจะ ภะณามะ เส.)
พุทโธ สุสุทโธ กะรุณามะหัณณะโว
พระพุทธเจ้าผู้บริสุทธิ์ มีพระกรุณาดุจห้วงมหรรณพ ;
โยจจันตะสุทธัพพะระญาณะโลจะโน,
พระองค์ใด มีตาคือญาณอันประเสริฐหมดจดถึงที่สุด ;
โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะฆาตะโก,
เป็นผู้ฆ่าเสียซึ่งบาป และอุปกิเลสของโลก ;
วันทามิ พุทธัง อะหะมาทะเรนะ ตัง,
ข้าพเจ้าไหว้พระพุทธเจ้าพระองค์นั้น โดยใจเคารพเอื้อเฟื้อ.
ธัมโม ปะทีโป วิยะ ตัสสะ สัตถุโน,
พระธรรมของพระศาสดา สว่างรุ่งเรืองเปรียบดวงประทีป ;
โย มัคคะปากามะเภทะภินนะโก,
จำแนกประเภท คือ มรรค ผล นิพพาน, ส่วนใด
โลกุตตระ โย จะ ตะทัตถะทีปะโน,
ซึ่งเป็นตัวโลกุตตระ, และส่วนใดที่ชี้แนวแห่งโลกุตตระนั้น ;
วันทามิ ธัมมัง อะหะมาทะเรนะ ตัง,
ข้าพเจ้าไหว้พระธรรมนั้น โดยใจเคารพเอื้อเฟื้อ.
สังโฆ สุเขตตาภยะติเขตตะสัญญิโต,
พระสงฆ์เป็นนาบุญอันยิ่งใหญ่กว่านาบุญอันดีทั้งหลาย ;
โย ทิฏฐะสันโต สุคะตานุโพธะโก,
เป็นผู้เห็นพระนิพพาน, ตรัสรู้ตามพระสุคต, หมู่ใด ;
โลลัปปะหีโน อะริโย สุเมธะโส,
เป็นผู้ละกิเลสเครื่องโลเล เป็นพระอริยเจ้า มีปัญญาดี ;
วันทามิ สังฆัง อะหะมาทะเรนะ ตัง,
ข้าพเจ้าไหว้พระสงฆ์หมู่นั้น โดยใจเคารพเอื้อเฟื้อ.
อิจเจวะเมกันตะภิปูชะเนยยะกัง, วัตถุตตะยัง วันทะยะตาภิสังขะตัง,

ปุญญัง มะยา ยัง มะมะ สัพพุปัททะวา, มา โหนตุ เว ตัสสะ ปะภาวะสิทธิยา.
บุญใด ที่ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่ซึ่งวัตถุสาม, คือพระรัตนตรัย อันควรบูชายิ่งโดยส่วนเดียว,

ได้กระทำแล้วเป็นอย่างยิ่งเช่นนี้นี้, ขออุปัททวะ (ความชั่ว) ทั้งหลาย, จงอย่ามีแก่ข้าพเจ้าเลย,

ด้วยอำนาจความสำเร็จ อันเกิดจากบุญนั้น.


(๕. สังเวคปริกิตตนปาฐะ)
อิธะ ตะถาคะโต โลเก อุปปันโน
พระตถาคตเจ้าเกิดขึ้นแล้ว ในโลกนี้ ;
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
เป็นผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง ;
ธัมโม จะ เทสิโต นิยยานิโก,
และพระธรรมที่ทรงแสดง เป็นธรรมเครื่องออกจากทุกข์ ;
อุปะสะมิโก ปะรินิพพานิโก,
เป็นเครื่องสงบกิเลส, เป็นไปเพื่อปรินิพพาน ;
สัมโพธะคามี สุคะตัปปะเวทิโต ;
เป็นไปเพื่อความรู้พร้อม, เป็น ธรรมที่พระสุคตประกาศ ;
มะยันตัง ธัมมัง สุตวา เอวัง ชานามะ : -
พวกเราเมื่อได้ฟังธรรมนั้นแล้ว, จึงได้รู้อย่างนี้ว่า : -
ชาติปิ ทุกขา,
แม้ความเกิดก็เป็นทุกข์ ;
ชะราปิ ทุกขา,
แม้ความแก่ก็เป็นทุกข์ ;
มะระณัมปิ ทุกขัง
แม้ความตายก็เป็นทุกข์ ;
โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาปิ ทุกขา,
แม้ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความไม่สบายกาย ความไม่สบายใจ ความคับแค้นใจ ก็เป็นทุกข์ ;
อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข
ความประสบกับสิ่งไม่เป็นที่รักที่พอใจ ก็เป็นทุกข์ ;
ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข,
ความพลัดพรากจากสิ่งเป็นที่รักที่พอใจ ก็เป็นทุกข์ ;
ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง,
มีความปรารถนาสิ่งใด ไม่ได้สิ่งนั้น นั่นก็เป็นทุกข์ ;
สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา,
ว่าโดยย่อ อุปาทานขันธ์ทั้ง ๕ เป็นตัวทุกข์ ;
เสยยะถีทัง,
ได้แก่สิ่งเหล่านี้ คือ :-
รูปูปาทานักขันโธ,
ขันธ์ อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่น คือรูป ;
เวทะนูปาทานักขันโธ,
ขันธ์ อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่น คือเวทนา ;
สัญญูปาทานักขันโธ,
ขันธ์ อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่น คือสัญญา ;
สังขารูปาทานักขันโธ,
ขันธ์ อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่น คือสังขาร ;
วิญญาณูปาทานักขันโธ,
ขันธ์ อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่น คือวิญญาณ ;
เยสัง ปะริญญายะ,
เพื่อให้สาวกกำหนดรอบรู้อุปาทานขันธ์ เหล่านี้ เอง,
ธะระมาโน โส ภะคะวา,
จึงพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เมื่อยังทรงพระชนม์อยู่,
เอวัง พะหุลัง สาวะเก วิเนติ,
ย่อมทรงแนะนำสาวกทั้งหลาย เช่นนี้เป็นส่วนมาก ;
เอวังภาคา จะ ปะนัสสะ ภะคะวะโต สาวะเกสุ อะนุสาสะนี พะหุลา ปะวัตติตะติ,
อนึ่ง คำสั่งสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น, ย่อมเป็นไปในสาวกทั้งหลาย,

ส่วนมาก, มีส่วนคือการจำแนกอย่างนี้ว่า :-
รูปัง อะนิจจัง,
รูปไม่เที่ยง ;
เวทะนา อะนิจจา,
เวทนาไม่เที่ยง ;
สัญญา อะนิจจา,
สัญญาไม่เที่ยง ;
สังขารา อะนิจจา,
สังขารไม่เที่ยง ;
วิญญาณัง อะนิจจัง
วิญญาณไม่เที่ยง ;
รูปัง อะนัตตา,
รูปไม่ใช่ตัวตน ;
เวทะนา อะนัตตา,
เวทนาไม่ใช่ตัวตน ;
สัญญาอะนัตตา,
สัญญาไม่ใช่ตัวตน ;
สังขาราอะนัตตา,
สังขารไม่ใช่ตัวตน ;
วิญญาณัง อะนัตตา,
วิญญาณไม่ใช่ตัวตน ;
สัพเพ สังขารา อะนิจจา,
สังขารทั้งหลายทั้งปวง ไม่เที่ยง..
สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ,
ธรรมทั้งหลายทั้งปวง ไม่ใช่ตัวตน ดังนี้.
เต (ตา) มะยัง โอติณณามหะ,
พวกเราทั้งหลาย เป็นผู้ถูกครอบงำแล้ว ; ชาติยา, โดยความเกิด ;
ชะรามะระเณนะ,
โดยความแก่และความตาย ;
โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปยาเสหิ,
โดยความโศก ความร่ำไรรำพัน ความไม่สบายกาย ความไม่สบายใจ ความคับแค้นใจ ทั้งหลาย ;
ทุกโขติณณา,
เป็นผู้ถูกความทุกข์ หยั่งเอาแล้ว ;
ทุกขะปะเรตา,
เป็นผู้มีความทุกข์ เป็นเบื้องหน้าแล้ว ;
อัปเปวะนามิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขันขันธัสสะ อันตะกิริยา ปัญญาเยถาติ.
ทำไฉน การทำที่สุดแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ . จะพึ่งปรากฏชัด แก่เราได้.
จิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คะตา,
เราทั้งหลายผู้ถึงแล้วซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้า แม้ปรินิพพานนานแล้ว พระองค์นั้น เป็นสรณะ ; ธัมมัญจะ สังฆัญจะ, ถึงพระธรรมด้วย, ถึงพระสงฆ์ด้วย ;
ตัสสะ ภะคะวะโต สาสะนัง ยะถาพะลัง มะนะสิกะโรมะ อะนุปะฏิปัชชามะ,
จักทำในใจอยู่ ปฏิบัติตามอยู่ ซึ่งคำสั่งสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้นตามสติกำลัง ; สา สา โน ปะฏิปัตติ, ขอให้ความปฏิบัตินั้น ๆ ของเราทั้งหลาย ;
อิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยายะ สังวัตตะตุ.
จงเป็นไปเพื่อการทำที่สุดแห่งกองทุกข์ ทั้งสิ้นนี้ เทอญ.

จบทำวัตรเช้าบริบูรณ์